วันจันทร์ที่ 27 ธันวาคม พ.ศ. 2553

ที่มา : วารสารการศึกษาปฐมวัย Thai Journal of Early Childhood Education ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 เดือนมกราคม พ.ศ. 2547
โดย : รศ.ดร. กุลยา ตันติผลาชีวะ สาขาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
รวบรวมโดย : สถาบันเด็ก มูลนิธิเด็ก

ศิลปะ เป็นกิจกรรมของการแสดงออกความรู้ ความคิด และจินตนาการ ซึ่งสามารถนำลักษณะของความงาม และการได้ระบายออกทางอารมณ์มาเป็นสื่อการเรียนรู้ ที่สร้างให้เกิดความจำและความเข้าใจดียิ่งขึ้น


การส่งเสริมพัฒนาการทางร่างกาย จิตใจ สังคม และสติปัญญา สำหรับเด็กปฐมวัยเป็นภารกิจของครู และผู้ปกครองที่สำคัญยิ่งเพราะวัย 6 ขวบแรกมีพัฒนาแต่ละด้านเป็นไปอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะสมองจะมีพัฒนาการกว่าร้อยละ 90 ของวัยผู้ใหญ่ ฉะนั้นหากเด็กได้รับการสร้างเสริมที่ถูกต้อง ย่อมเป็นการช่วยให้พัฒนาการด้านรวมทั้งสติปัญญาเป็นไปอย่างเต็มศักยภาพ นักการศึกษาปฐมวัยได้พยายามศึกษาค้นคว้าวิจัย เพื่อหาแนวทางที่จะช่วยให้การเรียนการสอน เป็นตัวสร้างเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งโดยวัยของเด็กและพัฒนาการจะพบว่า ศิลปะเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่สามารถนำมาใช้เป็นสื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
วิธีการเรียนรู้ของเด็ก

การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางปัญญาที่เกิดจากการซึมซับประสบการณ์และรับไว้จนเกิดเป็นข้อความรู้ พิอาเจท์ (Piaget) เชื่อว่าการเรียนรู้ของเด็กเกิดจากกระบวนการปรับตัว (adaptive process) ที่มีขั้นตอนการเกิดขึ้นเหมือนกับการปรับตัวทางด้านร่างกาย ที่เด็กเรียนรู้ได้จากการรับและสะท้อนผลจนเกิดเป็นพัฒนาการทางสติปัญญา กระบวนการปรับตัวนี้ประกอบด้วย กระบวนการปฏิสัมพันธ์ 2 ประการ คือ การซึมซับ (assimilation) กับการรับไว้ (accommodation) เด็กจะซึมซับข้อมูลจากการสัมผัสประสบการณ์ที่ดีและข้อมูลความรู้ที่ได้แล้วผ่านเข้าไปสู่กระบวนการปรับเปลี่ยนไปสู่การรับเป็นแนวคิดเป็นพฤติกรรม หรือเป็นความเชื่อ กระบวนการปฏิสัมพันธ์ทั้ง 2 จะทำงานเชื่อมสานกันเรียกว่า กระบวนการปรับตัว ซึ่งจะต้องอยู่ในภาวะสมดุล จึงเกิดการเรียนรู้แล้วเก็บเป็นหน่วยการเรียนรู้เกิดขึ้น (schemes) (Morrison, 2000 : 100-101)
หน่วยความรู้ (schemes) เป็นโครงสร้างของปัญญาที่บ่งบอกถึงการจัดระเบียบข้อความรู้ ซึ่งความรู้ที่เกิดขึ้นนี้อาจเปลี่ยนไปได้ตามประสบการณ์ที่ได้รับ ประสบการณ์มากการเรียนรู้และเข้าใจจะมากขึ้น เด็กเรียนรู้ได้ดีจากการได้สัมผัส หยิบจับ ได้เล่นหรือได้จากประสบการณ์ตรงในขณะที่เด็กได้รับประสบการณ์ เด็กได้ทำกิจกรรมหรือเด็กได้เล่น เด็กจะเรียนรู้จากการสัมผัสและจากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงในตัววัสดุที่พบเกิดเป็นองค์ความรู้ ซึ่งองค์ความรู้ที่ได้รับนี้จะพัฒนาอย่างเป็นกระบวนการ ทำให้เกิดกระจ่างรู้ซึ่งจะเร็วช้าในแต่ละคนต่างกัน แต่จะมีกระบวนการสะสมข้อมูลเป็นหน่วยความรู้เหมือนกัน การให้ประสบการณ์อย่างเดียวกันซ้ำ ๆ จะทำให้เด็กเกิดการเรียนรู้เข้าใจและจำได้

การสร้างความจำ
การจำมีความสำคัญยิ่งต่อการเรียนรู้ เพราะการเรียนรู้ที่ดีเกิดจากผู้นั้นมีการสะสมความรู้ สำหรับเป็นฐานความคิดและพัฒนาความงอกงามของปัญญาไว้แล้วสามารถนำมาเชื่อมโยงกันได้ ด้วยความสำคัญของการจำให้คนพยายามที่จะค้นหาวิธีการสร้างความจำให้เกิดขึ้นการท่องจำเป็นวิธีการหนึ่งที่มีการนำมาใช้มาก เพราะเชื่อว่าจะทำให้สามารถจำและเก็บนำไปใช้ได้ทันที ซึ่งจากการศึกษาในระยะหลังพบว่าการท่องเป็นการสร้างความจำได้ แต่ไม่ได้หมายถึงความเข้าใจ การท่องเป็นการเก็บงำความรู้ไว้ในสมอง ส่วนการนำกลับมาใช้เป็นการไตร่ตรองการคิด ดังนั้นการจำด้วยการท่องจึงมีความจำกัด อีกทั้งอัตราการจำด้วยการท่องมีน้อย น้อยกว่าการจำด้วยความเข้าใจ หรือประทับใจ สำหรับการเรียนรู้ของคน มีระบบความจำ อยู่ 3 ระบบ คือ ระบบการจำจากสัมผัส ระบบการจำระยะสั้น และระบบการจำระยะยาว

ระบบการจำจากการสัมผัสเป็นภาวะการสะท้อนผลของการสังเกตและจำเร็ว เช่น จำได้เพราะเห็นแว็บ ๆ เห็นผ่าน ๆ ส่วนระบบการจำระยะสั้น เป็นการเก็บข้อมูลที่จำนวนไม่มาก ถ้าไม่ได้ฟังซ้ำจะลืม แต่สิ่งที่คนต้องการคือความจำระยะยาว ซึ่งลักษณะการจำอาจเป็นจำภาพได้ จำแล้วอธิบายได้ หรือจำแล้วกระทำได้ การจำทุกชนิดมีโอกาสลืมแต่ลืมเร็วลืมช้าต่างกัน วิธีการสร้างความจำมีหลายวิธีวิธีแรกคือ การบันทึก การท่อง การท่องและเขียน การทำรหัสบันทึกย่อ การเล่ารื่อง การหาประสบการณ์เสริม แต่ละกระบวนวิธีสร้างความจำดังกล่าวให้ผลต่อระยะการจำแตกต่างกันมาก จำเป็นต้องค้นหาเครื่องมือมาสร้างความจำ ด้วยการทำให้เกิดการคิด จินตนาการเชื่อมโยง ที่นำไปสู่การเก็บความจำไว้ในสมองได้นาน เช่น การเชื่อมโยงสาระให้เกิดจำ หรือใช้สถานที่เป็นตัวกำหนดการจำ หรือแต่งโคลงคล้องจองต่อเนื่อง วิธีการเหล่านี้เรียกว่า Mnemonic (นิ-มอน-อิค) devices เป็นเทคนิคช่วยการจำ (Roediger lll, 1984 : 266) ความจำมีความสำคัญเพราะจะช่วยให้เกิดการสะสมหน่วยความรู้ (schemes) ซึ่งประสบการณ์ต่อ ๆ ไปจะขยายองค์ความรู้ให้กว้างขวางมากขึ้น สำหรับความจำนี้เด็กอายุมากขึ้น จะจำได้แม่นยำ และนานขึ้น แต่เมื่อเป็นผู้ใหญ่ความจำจะถอยลงตามสมรรถภาพของสมอง<![endif]>
การกระตุ้นความจำเพื่อการเรียนรู้ด้วยงานศิลปะ

ดังกล่าวแล้วว่าได้มีผู้พยายามพัฒนาวิธีการสร้างความสามารถในการจำของคนให้สูงขึ้นด้วยวิธีการต่าง ๆ โดยเน้นองค์ประกอบสำคัญของการจำคือ ความสั้นง่าย น่าสนใจ และสนุกกับการจำ หากสิ่งที่กำลังจำนั้นสร้างให้เกิดความพอใจ โอกาสที่เด็กจะจำได้นานมีสูง เด็กที่จำได้มีโอกาสที่จะเรียนได้เร็วและเข้าใจสิ่งต่าง ๆ มีมาก ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนจึงพบว่ามีการกระตุ้นการเรียนรู้ด้วยความเพลิดเพลินและความสนใจของเด็ก ต่อมาระยะหลังได้มีผู้นำศิลปะมาใช้เป็นสื่อในการเรียนรู้ ซึ่งมิใช่เพื่อให้มีการแสดงออกในตนเองและจินตนาการเท่านั้น ยังเป็นการสร้างความเพลิดเพลินให้กับครูและเด็ก เด็กสามารถรู้ว่าตนเองรู้อะไร คิดอย่างไร และจะบอกหรือสื่อให้ใครรู้ การจัดการเรียนการสอนแบบเรกจิโอ เอมิเลีย เป็นการเรียนการสอนรูปแบบหนึ่งที่เน้นให้เด็กถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิด ผ่านผลงานศิลปะ อาจเป็นการวาดภาพงานปั้น งานแต่ง ไม่ว่าเด็กจะคิดทำสิ่งใด เด็กต้องสื่อความคิด แผนงานและจินตนาการของตนเองผ่านทางศิลปะ

ศิลปะช่วยให้เด็กเชื่อสานและบูรณาการประสบการณ์ที่มี เด็กสามารถผสมผสานความรู้วิทยาศาสตร์ สังคม คณิตศาสตร์ ภาษาลงในศิลปะที่เด็กแสดงออก การจัดการเรียนการสอนแบบเรกจิโอ เอมีเลีย (Reggio Emilia) ได้เน้นการใช้ศิลปะเป็นแกนประสบการณ์การเรียนรู้ โดยใช้โครงการเป็นฐานของการเรียน ซึ่งปกติแล้วการเรียนแบบโครงการ (project approach) จะเน้นให้เด็กเล่นและเรียนในสิ่งที่เด็กสนใจหรือสิ่งที่ครูริเริ่ม โดยสนองตอบความต้องการของเด็ก เด็กได้เรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมและแสดงออกอย่างอิสระ สื่อศิลปะเป็นรูปแบบโดยธรรมชาติ ที่ทำให้มีการแสดงออกและการค้นคว้าที่นำไปสู่การเรียนรู้ของเด็กและเข้าใจโลก (Gordon and Browne, 1993 : 362) ซึ่งทำให้เด็กได้คิดพัฒนาสร้างสรรค์ จากการถ่ายโยงภาพที่เห็นเป็นศิลปะของการเรียนรู้ที่สำคัญ เด็กได้ทั้งสุนทรีภาพในงานศิลปะควบคู่ไปกับการเรียนสาระวิชา

ด้วยลักษณะของศิลปะ นักการศึกษา จึงได้นำศิลปะมาเป็นวิธีการจัดการเรียนการสอนที่บูรณาการความรู้สึกที่ดีของเด็ก กับหน่วยประสบการณ์ของเด็กไปสู่สาระหลักฐานที่จะเรียนรู้ เพื่อเป็นการจูงใจสร้างการมีส่วนร่วมที่เรียและการเรียนรู้ (Brewer, 1995 : 320 อ้างถึง Edwards) ซึ่งการนำศิลปะมาใช้ในการจัดการเรียนการสอนอนุบาลอย่างน้อยมี 3 ลักษณะดังนี้ (Brewer, 1995 : 320)

1.ใช้เป็นกิจกรรมเพื่อการส่งเสริมความคิดริเริ่มสร้างสรรค์จินตนาการ ผ่อนคลายความเครียด เพลิดเพลิน สนุกสนาน และการพัฒนากล้ามเนื้อมือ ความสัมพันธ์ของประสาทระหว่างตากับมือ
2.ใช้เพื่อสร้างเสริมพัฒนาการแบบบูรณาการ การจัดกิจกรรมศิลปะจะเน้นการมีส่วนร่วม การแก้ปัญหา การทำงานเป็นกลุ่มการปรับตัวในการทำงาน การสร้างนิสัยทางสังคมที่ดี

3.ใช้เพื่อการสร้างการเรียนรู้ทางวิชาการ ซึ่งศิลปะสามารถสื่อและนำมาใช้ได้ เพราะจะทำให้เด็กได้เข้าใจ จำ และถ่ายทอดสิ่งนรู้ออกมาก โดยเฉพาะศิลปะสร้างสรรค์จะช่วยให้เด็กเรียนรู้สาระวิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา และเนื้อหาวิชาอื่น ๆ ได้
จุดประสงค์ของการใช้ศิลปะในการเรียนการสอน
กระทรวงศึกษาธิการได้จัดให้ศิลปะเป็นกิจกรรมจำเป็นอย่างหนึ่ง สำหรับเด็กปฐมวัยในกิจกรรมสร้างสรรค์ เพื่อช่วยให้เด็กแสดงออกทางอารมณ์ ความรู้สึก ความคิดริเริ่ม ความคิดสร้างสรรค์ และจินตนาการ โดยใช้ศิลปะ (กระทรวงศึกษาธิการ, 2540 : 27) ตัวอย่างเช่น วาดภาพ ระบายสี, ฉีก ปะกระดาษ, ปั้น, ประดิษฐเศษวัสดุ
ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ. 2546 ให้ความสำคัญกับกิจกรรมศิลปะมากโดยกำหนดอยู่ในชั่วโมงกิจกรรสร้างสรรค์ และในทุกโรงเรียนต่างให้ต่างจัดกิจกรรมศิลปะ ให้กับเด็กทุกวันไม่ว่าจะเป็นวาดภาพ ระบายสี ปั้นประดิษฐ์ เล่นดนตรี หรือบางแห่งมีการแสดงด้วยประโยชน์นี้ได้จากศิลปะคือ (Jalongo, 1990 : 196)

1.
การสร้างงานศิลปะเป็นการสนับสนุนให้เกิดการเรียนรู้จากภายในแล้วถ่ายออกสู่ภายนอก เป็นการเรียนรู้จากประสบการณ์จริง ซึ่งนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการสะท้อนผล


2.
การแสดงออกทางศิลปะ ส่งเสริมความสามารถของเด็กในการแปลสัญลักษณ์

3.
การแสดงออกทางศิลปะ สร้างเสริมความสามารถของเด็กในการแปลสัญลักษณ์

4.
การแสดงออกทางศิลปะทำให้เด็กเป็นผู้ทำอย่างมีความหมายและเป็นผู้สร้าง เป็นผู้ค้นพบ และทำความรู้ให้เป็นรูปร่างขึ้นมากกว่าเป็นผู้รับรู้ในสิ่งที่รู้แล้ว
การให้เด็กปฐมวัยมีกิจกรรมศิลปะนั้นจุดหมายสำคัญอยู่ที่การส่งเสริมการพัฒนากล้ามเนื้อเล็ก การส่งเสริมพัฒนาการ ซึ่งในแง่การศึกษาการนำศิลปะศึกษามาใช้ประโยชน์ทางการศึกษาเพื่อพัฒนาการด้านต่าง ๆ ไม่ได้มีจุดมุ่งหมายในการเตรียมเด็กให้โตขึ้นเป็นศิลปิน หรือจิตรกร (เลิศ อานันทะ, 2535 : 44)
การแสดงออกที่เด็กสามารถวาดภาพได้ดีนั้น ขึ้นอยู่กับทักษะการใช้มือตามระดับสติปัญญาทางศิลปะ ความคล่องแคล่วในการเรียนรู้จินตนาการ การสร้างสรรค์และความสามารถในการตัดสินใจด้านสุนทรียภาพ การเลี้ยงดู ดังนั้นการที่เด็กแสดงความสามารถทางศิลปะได้เด่นชัดไม่จำเป็นต้องเป็นศิลปินเสมอไป (ศรียา นิยมธรรม
, 2545 : 53) ประเภทของศิลปะที่ใช้ในการสร้างการเรียนรู้
ดังกล่าวมาแล้วว่าศิลปะสามารถสร้างสรรค์การเรียนรู้ได้ อย่าลืมว่าเป้าหมายของการจัดการศึกษาปฐมวัย เน้นที่การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และพัฒนาสติปัญญา ซึ่งศิลปะจะเป็นแกนของการพัฒนาได้ เพราะเด็กได้แสดงออกถึงพุทธิปัญญาทั้งหมดที่มีและกระบวนการเรียนรู้ผ่านทางศิลปะ เด็กเล็กต้องสัมผัสและการกระตุ้นสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ ศิลปะเป็นกิจกรรมที่เด็กสัมผัสได้ สามารถระบายความคิด ความรู้ และสื่อบอกให้คนอื่นรู้ นอกจากนั้น ศิลปะยังเป็นกิจกรรมที่เพลิดเพลินที่กระตุ้นการเรียนรู้ ซึ่งการนำมาใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ จำแนกได้เป็น 6 ลักษณะดังนี้ ย้ำการเรียนรู้ด้วยศิลปะ เรียกว่า ศิลปะย้ำ ถ่ายทอดการเรียนรู้ศิลปะ เรียกว่า ศิลปะถ่ายโยง ปรับภาพการเรียนรู้เป็นงานศิลป์ เรียกว่า ศิลปะปรับภาพ เปลี่ยนสิ่งเรียนรู้ส่งงานศิลป์ เรียกว่าศิลปะเปลี่ยนแบบ บูรณาการการเรียนรู้ที่สู่ศิลปะ เรียกว่า ศิลปะบูรณาการ ค้นหาความรู้จากศิลปะ เรียกว่า ศิลปะค้นหา ศิลปะย้ำ
การเรียนรู้ไม่ใช่การท่องจำ แต่การจำเป็นฐานของการเรียนรู้ การจำทำให้คนเกิดวิธีการสร้างความจำ มีหลายวิธีโดยเฉพาะที่ใช้กันมากคือท่องจำ เขียนซ้ำหลาย ๆ จบ สิ่งเหล่านี้ทำให้เกิดความจำระยะสั้น การเข้าใจจะทำให้เกิดความจำระยะยาวส่วนหนึ่ง ซึ่งถ้าเสริมซ้ำจะทำให้การจำระยะยาวมีเพิ่มมากขึ้น การใช้ศิลปะอย่างหนึ่งคือการนำศิลปะมาย้ำการเรียนรู้เป็นวิธีที่ง่ายที่สุด ครูสามารถจัดเป็นกิจกรรมขณะเรียนหรือให้เป็นการบ้าน ด้วยการให้ระบายสีลงในรูปภาพที่เรียน ตัวอย่างเช่น เด็กเรียน ก. ไก่แล้ว เพื่อให้จำได้ ครูมอบหมายให้เด็กระบายสีอักษร ก. และระบายสีภาพไก่ในใบงานต่อไปนี้ ศิลปะย้ำนี้ใช้ เพื่อสร้างเสริมการจำจากความประทับใจขณะทำกิจกรรมศิลปะ

วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553

บทความนี้ก็น่าสนใจนะคะ

การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน เรื่องปลาสายรุ้ง
เขียนโดย นฤมล เนียมหอม   
แนวคิดพื้นฐาน
        "นิทาน" เป็นสิ่งที่เด็กเข้าถึงได้ง่าย เรื่องราวในนิทานมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างเสริมจินตนาการให้แก่เด็กการนำนิทานมาเป็นสื่อหลักในการจัดประสบการณ์ ช่วยให้เด็กประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ได้ง่ายยิ่งขึ้น
ความหมาย
        การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมสำหรับเด็กเป็นหลักในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับหลักสูตรเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างเป็นองค์รวม
หลักการ
1. การจัดการเรียนรู้ควรตอบสนองต่อความต้องการพื้นฐานตามธรรมชาติของเด็กในการค้นหาความหมาย
2. การเรียนรู้ต้องเปิดโอกาสให้เด็กกำหนดรูปแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตน
3. การจัดการเรียนรู้ต้องให้ความสำคัญต่อบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
4. การฟังคือที่มาสำคัญของการพัฒนาภาษาคำ ความหมาย และภาษาที่งดงามสร้างขึ้นได้จากนิทาน
5. เด็กเรียนรู้ผ่านกิจกรรมและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่หรือเด็กที่โตกว่า
วิธีการ
1. เลือกวรรณกรรมที่ดีมาอ่านให้เด็กฟังไม่ต้องกังวลที่จะให้เด็กอ่านตามไม่ต้องให้เด็กคอยตอบคำถามไม่ต้องจำเรื่องให้ได้ทำให้เด็กรู้สึกสนุกที่จะฟังเรียกร้องครั้งแล้วครั้งเล่าให้ผู้ใหญ่อ่านให้ฟัง
*** ภาพประกอบในหนังสือจะสื่อความหมายให้สมองรับรู้เรื่องราวที่ได้ฟังและแม้มีคำยากปนอยู่บ้างสมองก็จะพยายามเชื่อมโยงความหมายของคำนั้นกับเรื่องราววิธีเรียนรู้แบบนี้เป็นวิธีเรียนภาษาที่ได้ผลสัมฤทธิ์สูง ***
** เมื่ออ่านให้เด็กฟังติดต่อกันยาวนานพอเด็กจะเริ่มจดจำเรื่องได้ในที่สุดเด็กจะหยิบหนังสือมาเปิดอ่านการสะกดได้จะตามมาภายหลังการสอนอ่านและสอนสะกดทำได้ง่ายมากเมื่อเด็กรักที่จะอ่านแล้ว ***
2. กระตุ้นให้เด็กสนทนาเกี่ยวกับตัวละครวัตถุสิ่งของ ฉาก หรือสถานการณ์ที่สัมพันธ์กับวรรณกรรม โดยใช้คำถามหลายๆ ระดับ
** ลักษณะของคำถาม : ความจำ, ความเข้าใจ, การวิเคราะห์, การนำไปใช้, การประเมินค่า, การสร้างสรรค์ **
3. วางแผนและออกแบบกิจกรรมที่สัมพันธ์กับวรรณกรรม และสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านของเด็ก และเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับกิจกรรมประจำวัน โดยมีศิลปะและละครเป็น องค์ประกอบสำคัญ
 
images/stories/v1.gifimages/stories/v2.gif
        เด็กๆ ถ่ายทอดความรู้สึกและลำดับเรื่องราวผ่านละครสร้างสรรค์ หลังจาก ได้ฟังนิทานเรื่องปลาสายรุ้ง เป็นการเรียนรู้ที่จะเลือกสัญลักษณ์ที่เหมาะสมใน การนำเสนอความคิดด้วยสีหน้า ท่าทาง และคำพูดให้เหมาะสมกับสิ่งที่เด็กๆ ต้องการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ        เด็กสนใจที่จะวาดภาพปลาที่เลี้ยงไว้ ทำให้มีโอกาสสังเกตปลาจากมุมมอง ที่ต่างๆ กัน ได้อธิบายในเรื่องตำแหน่งและทิศทางการเคลื่อนที่ของปลา และได้ สื่อความหมายของมิติสัมพันธ์ด้วยภาพวาด

 images/stories/v3.gifimages/stories/v4.gif 
        เด็กๆ ช่วยกันตัดกระดาษเป็นเกล็ดปลาสายรุ้งแล้วนำสร้างสรรค์งานร่วมกับเพื่อน เด็กได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ทำให้เกิดความพอใจ และสนุกสนาน เมื่อ ครูนำงานที่เด็กทำมาจัดแสดงไว้ในห้องเรียนทำให้เด็กได้ชื่นชมและมีความรู้สึกที่ดี ต่อตนเองและผู้อื่น รวมทั้งมีสุนทรียภาพต่อสิ่งแวดล้อมด้วย        เด็กๆ ประดิษฐ์ปลาหมึกจากกรวยกระดาษและกระดาษย่น หลังจากนั้นครูจึง นำผลงานของเด็กมาจัดแสดงไว้เป็นโมบายที่ใช้ตกแต่งห้องเรียน เด็กๆ ได้ฝึกการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อเล็ก ด้วยการประดิษฐ์ รวมทั้งได้แสดงความ คิดสร้างสรรค์ผ่านสื่อและวัสดุต่างๆ


images/stories/v5.gifimages/stories/v6.gif
        เด็กๆ สนใจเล่นเกมการศึกษาจากวรรณกรรมเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เด็ก มีประสบการณ์ทางภาษาผ่านกิจกรรมที่สนุกสนาน และสื่อความหมายกับเด็ก
       การให้เด็กเล่นเกมการศึกษาซึ่งเป็นเกมภาษา จากวรรณกรรม ทำให้เด็กได้รับความพึงพอใจ และ ความสนุกสนานผ่านทางภาษาที่มีความหมายต่อเด็ก เกมภาษาที่ครูควรจัดทำ เช่น เกมเรียงลำดับ-เหตุการณ์เกมภาพตัดต่อ เกมสังเกตรายละเอียดของ ภาพ และเกมจับคู่ภาพกับคำ เป็นต้น


images/stories/v7.gif       เด็กสร้างสรรค์ปลาสายรุ้งด้วยขนมปังและแยมสีต่างๆ เด็กรู้จักรูปทรงเรขาคณิต ของขนมปังทั้งที่เป็นแผ่นสี่เหลี่ยม และถูกตัดเป็นสามเหลี่ยมเพื่อเป็นหางปลา เรียนรู้ ที่จะอดทนรอคอยให้งานสำเร็จก่อนที่จะรับประทานอย่างมีความสุข

images/stories/v8.gif  images/stories/v9.gif
        เด็กๆ ช่วยกันผสมแป้งแพนเค้ก ไข่ นม และน้ำ แล้วจึงนำไปทอด ทำให้ได้ สังเกตความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ทั้งจากการสัมผัส ดู ได้ยินเสียง ได้กลิ่น และชิม เด็กๆ เรียนรู้ที่จะทำงานตามลำดับขั้นตอนเพื่อให้ ได้แพนเค้กรูปปลาสายรุ้ง ปลาสีฟ้า ปลาหมึก ปลาดาวตามที่ตั้งใจไว้

 images/stories/v10.gif images/stories/v11.gif
        หนังสือเล่มใหญ่ที่เกิดจากการทำงานร่วมกันของเด็ก เป็นสื่อที่เด็กให้ความสนใจมาก เด็กๆ มี โอกาสได้รับรู้ความรู้สึก ความสนใจ และความ ต้องการของเพื่อน เมื่อครูนำผลงานของเด็กมา จัดแสดงไว้ในลักษณะต่างๆ ทำให้เด็กได้ทบทวน เรื่องราว และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตน


กิจกรรมเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับวรรณกรรม
*** การวิเคราะห์ตัวละคร
*** การวิเคราะห์สถานการณ์
*** การจัดทำวัตถุสิ่งของ
*** การเล่นละครสร้างสรรค์
*** อุปกรณ์ประกอบฉากหรือเครื่องแต่งกายที่สัมพันธ์กับเรื่อง
*** การจัดโต๊ะนิทาน
*** การทำหนังสือนิทาน
*** การทำศิลปะแบบร่วมมือ
*** การประกอบอาหาร
*** การประดิษฐ์และการสร้าง
*** เพลง และคำคล้องจอง
*** การเคลื่อนไหวและจังหวะ
*** การเพาะปลูก
*** การเลี้ยงสัตว์
*** เกมการศึกษา
*** ฯลฯ
4. จัดนิทรรศการแสดงสิ่งที่เด็กๆ เรียนรู้โดยทบทวนกิจกรรมที่จัดแล้วร่วมกับเด็กให้เด็กช่วยกันเลือก สิ่งที่ต้องการนำเสนอให้ผู้อื่นรับรู้เกี่ยวกับวิธีการที่เด็กเรียนรู้และสิ่งที่เด็กเรียนรู้ และร่วมกันจัดนิทรรศการ

การเรียนรู้ประกอบด้วยจุดสนใจหลักและรับรู้สิ่งรอบตัวไปพร้อมๆ กัน
        ครูควรใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ในทุกแง่มุมจัดสิ่งแวดล้อมในห้องเรียนให้สัมพันธ์กับวรรณกรรมโดยให้เด็กมีส่วนร่วม เพื่อให้สมองเรียนรู้จากจุดสนใจหลักและรับรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวไปพร้อมๆ กัน

ประสบการณ์ทางภาษาภาครับ
เด็กได้อยู่ในบรรยากาศที่มีการใช้ภาษาที่มีความหมาย
เด็กได้รับความพึงพอใจและความสนุกสนานผ่านทางภาษา
เด็กมีโอกาสจำแนกเสียงที่ได้ยิน
เด็กได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่พรั่งพร้อมไปด้วยการใช้คำใหม่ๆ
เด็กมีโอกาสฟังและทำความเข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูด
เด็กมีโอกาสเรียนรู้ที่จะทำตามคำแนะนำ หรือคำสั่ง
ประสบการณ์ทางภาษาภาคส่ง
เด็กมีโอกาสใช้ภาษาอย่างอิสระ
เด็กได้รับกำลังใจและการยอมรับนับถือต่อความต้องการ ในการสื่อสารของเด็กเอง
เด็กได้รับการสนับสนุนให้ออกเสียงอย่างถูกต้อง
เด็กมีโอกาสเรียนรู้คำศัพท์ที่ใช้เพิ่มเติม
เด็กได้รับการสนับสนุนให้พูดประโยคที่สมบูรณ์ตาม ระดับพัฒนาการ
เด็กได้รับการส่งเสริมให้พูดโดยใช้คำหลายๆ ประเภท ทั้งคำนาม คำกริยา คำคุณศัพท์ ใช้วลี หรือใช้ประโยค เด็กมีโอกาสพูดเพื่อสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ
เด็กมีโอกาสใช้ภาษาทั้งในการแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น
เด็กใช้ภาษาเพื่อการแก้ปัญหา ตั้งสมมุติฐาน สรุป หรือ ทำนายเหตุการณ์
เด็กมีโอกาสใช้ภาษาที่สัมพันธ์กับคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์
ผลลัพธ์สำคัญจากการจัดประสบการณ์
  images/stories/sub01.png เด็กมีนิสัยรักการอ่าน
  images/stories/sub01.png เด็กมีพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาเหมาะสมกับวัย
images/stories/v12.gifimages/stories/v13.gif
images/stories/v14.gifimages/stories/v19.gif
images/stories/v15.gifimages/stories/v16.gif
images/stories/v17.gifimages/stories/v18.gif
การจัดประสบการณ์สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมเป็นฐาน เรื่องปลาสายรุ้ง
เขียนโดย นฤมล เนียมหอม   
แนวคิดพื้นฐาน
        "นิทาน" เป็นสิ่งที่เด็กเข้าถึงได้ง่าย เรื่องราวในนิทานมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างเสริมจินตนาการให้แก่เด็กการนำนิทานมาเป็นสื่อหลักในการจัดประสบการณ์ ช่วยให้เด็กประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ได้ง่ายยิ่งขึ้น
ความหมาย
        การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมสำหรับเด็กเป็นหลักในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับหลักสูตรเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างเป็นองค์รวม
หลักการ
1. การจัดการเรียนรู้ควรตอบสนองต่อความต้องการพื้นฐานตามธรรมชาติของเด็กในการค้นหาความหมาย
2. การเรียนรู้ต้องเปิดโอกาสให้เด็กกำหนดรูปแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตน
3. การจัดการเรียนรู้ต้องให้ความสำคัญต่อบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
4. การฟังคือที่มาสำคัญของการพัฒนาภาษาคำ ความหมาย และภาษาที่งดงามสร้างขึ้นได้จากนิทาน
5. เด็กเรียนรู้ผ่านกิจกรรมและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่หรือเด็กที่โตกว่า
วิธีการ
1. เลือกวรรณกรรมที่ดีมาอ่านให้เด็กฟังไม่ต้องกังวลที่จะให้เด็กอ่านตามไม่ต้องให้เด็กคอยตอบคำถามไม่ต้องจำเรื่องให้ได้ทำให้เด็กรู้สึกสนุกที่จะฟังเรียกร้องครั้งแล้วครั้งเล่าให้ผู้ใหญ่อ่านให้ฟัง
*** ภาพประกอบในหนังสือจะสื่อความหมายให้สมองรับรู้เรื่องราวที่ได้ฟังและแม้มีคำยากปนอยู่บ้างสมองก็จะพยายามเชื่อมโยงความหมายของคำนั้นกับเรื่องราววิธีเรียนรู้แบบนี้เป็นวิธีเรียนภาษาที่ได้ผลสัมฤทธิ์สูง ***
** เมื่ออ่านให้เด็กฟังติดต่อกันยาวนานพอเด็กจะเริ่มจดจำเรื่องได้ในที่สุดเด็กจะหยิบหนังสือมาเปิดอ่านการสะกดได้จะตามมาภายหลังการสอนอ่านและสอนสะกดทำได้ง่ายมากเมื่อเด็กรักที่จะอ่านแล้ว ***
2. กระตุ้นให้เด็กสนทนาเกี่ยวกับตัวละครวัตถุสิ่งของ ฉาก หรือสถานการณ์ที่สัมพันธ์กับวรรณกรรม โดยใช้คำถามหลายๆ ระดับ
** ลักษณะของคำถาม : ความจำ, ความเข้าใจ, การวิเคราะห์, การนำไปใช้, การประเมินค่า, การสร้างสรรค์ **
3. วางแผนและออกแบบกิจกรรมที่สัมพันธ์กับวรรณกรรม และสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านของเด็ก และเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับกิจกรรมประจำวัน โดยมีศิลปะและละครเป็น องค์ประกอบสำคัญ
 
images/stories/v1.gifimages/stories/v2.gif
        เด็กๆ ถ่ายทอดความรู้สึกและลำดับเรื่องราวผ่านละครสร้างสรรค์ หลังจาก ได้ฟังนิทานเรื่องปลาสายรุ้ง เป็นการเรียนรู้ที่จะเลือกสัญลักษณ์ที่เหมาะสมใน การนำเสนอความคิดด้วยสีหน้า ท่าทาง และคำพูดให้เหมาะสมกับสิ่งที่เด็กๆ ต้องการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ        เด็กสนใจที่จะวาดภาพปลาที่เลี้ยงไว้ ทำให้มีโอกาสสังเกตปลาจากมุมมอง ที่ต่างๆ กัน ได้อธิบายในเรื่องตำแหน่งและทิศทางการเคลื่อนที่ของปลา และได้ สื่อความหมายของมิติสัมพันธ์ด้วยภาพวาด

 images/stories/v3.gifimages/stories/v4.gif 
        เด็กๆ ช่วยกันตัดกระดาษเป็นเกล็ดปลาสายรุ้งแล้วนำสร้างสรรค์งานร่วมกับเพื่อน เด็กได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ทำให้เกิดความพอใจ และสนุกสนาน เมื่อ ครูนำงานที่เด็กทำมาจัดแสดงไว้ในห้องเรียนทำให้เด็กได้ชื่นชมและมีความรู้สึกที่ดี ต่อตนเองและผู้อื่น รวมทั้งมีสุนทรียภาพต่อสิ่งแวดล้อมด้วย        เด็กๆ ประดิษฐ์ปลาหมึกจากกรวยกระดาษและกระดาษย่น หลังจากนั้นครูจึง นำผลงานของเด็กมาจัดแสดงไว้เป็นโมบายที่ใช้ตกแต่งห้องเรียน เด็กๆ ได้ฝึกการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อเล็ก ด้วยการประดิษฐ์ รวมทั้งได้แสดงความ คิดสร้างสรรค์ผ่านสื่อและวัสดุต่างๆ


images/stories/v5.gifimages/stories/v6.gif
        เด็กๆ สนใจเล่นเกมการศึกษาจากวรรณกรรมเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เด็ก มีประสบการณ์ทางภาษาผ่านกิจกรรมที่สนุกสนาน และสื่อความหมายกับเด็ก
       การให้เด็กเล่นเกมการศึกษาซึ่งเป็นเกมภาษา จากวรรณกรรม ทำให้เด็กได้รับความพึงพอใจ และ ความสนุกสนานผ่านทางภาษาที่มีความหมายต่อเด็ก เกมภาษาที่ครูควรจัดทำ เช่น เกมเรียงลำดับ-เหตุการณ์เกมภาพตัดต่อ เกมสังเกตรายละเอียดของ ภาพ และเกมจับคู่ภาพกับคำ เป็นต้น


images/stories/v7.gif       เด็กสร้างสรรค์ปลาสายรุ้งด้วยขนมปังและแยมสีต่างๆ เด็กรู้จักรูปทรงเรขาคณิต ของขนมปังทั้งที่เป็นแผ่นสี่เหลี่ยม และถูกตัดเป็นสามเหลี่ยมเพื่อเป็นหางปลา เรียนรู้ ที่จะอดทนรอคอยให้งานสำเร็จก่อนที่จะรับประทานอย่างมีความสุข

images/stories/v8.gif  images/stories/v9.gif
        เด็กๆ ช่วยกันผสมแป้งแพนเค้ก ไข่ นม และน้ำ แล้วจึงนำไปทอด ทำให้ได้ สังเกตความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ทั้งจากการสัมผัส ดู ได้ยินเสียง ได้กลิ่น และชิม เด็กๆ เรียนรู้ที่จะทำงานตามลำดับขั้นตอนเพื่อให้ ได้แพนเค้กรูปปลาสายรุ้ง ปลาสีฟ้า ปลาหมึก ปลาดาวตามที่ตั้งใจไว้

 images/stories/v10.gif images/stories/v11.gif
        หนังสือเล่มใหญ่ที่เกิดจากการทำงานร่วมกันของเด็ก เป็นสื่อที่เด็กให้ความสนใจมาก เด็กๆ มี โอกาสได้รับรู้ความรู้สึก ความสนใจ และความ ต้องการของเพื่อน เมื่อครูนำผลงานของเด็กมา จัดแสดงไว้ในลักษณะต่างๆ ทำให้เด็กได้ทบทวน เรื่องราว และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตน


กิจกรรมเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับวรรณกรรม
*** การวิเคราะห์ตัวละคร
*** การวิเคราะห์สถานการณ์
*** การจัดทำวัตถุสิ่งของ
*** การเล่นละครสร้างสรรค์
*** อุปกรณ์ประกอบฉากหรือเครื่องแต่งกายที่สัมพันธ์กับเรื่อง
*** การจัดโต๊ะนิทาน
*** การทำหนังสือนิทาน
*** การทำศิลปะแบบร่วมมือ
*** การประกอบอาหาร
*** การประดิษฐ์และการสร้าง
*** เพลง และคำคล้องจอง
*** การเคลื่อนไหวและจังหวะ
*** การเพาะปลูก
*** การเลี้ยงสัตว์
*** เกมการศึกษา
*** ฯลฯ
4. จัดนิทรรศการแสดงสิ่งที่เด็กๆ เรียนรู้โดยทบทวนกิจกรรมที่จัดแล้วร่วมกับเด็กให้เด็กช่วยกันเลือก สิ่งที่ต้องการนำเสนอให้ผู้อื่นรับรู้เกี่ยวกับวิธีการที่เด็กเรียนรู้และสิ่งที่เด็กเรียนรู้ และร่วมกันจัดนิทรรศการ

การเรียนรู้ประกอบด้วยจุดสนใจหลักและรับรู้สิ่งรอบตัวไปพร้อมๆ กัน
        ครูควรใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ในทุกแง่มุมจัดสิ่งแวดล้อมในห้องเรียนให้สัมพันธ์กับวรรณกรรมโดยให้เด็กมีส่วนร่วม เพื่อให้สมองเรียนรู้จากจุดสนใจหลักและรับรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวไปพร้อมๆ กัน

ประสบการณ์ทางภาษาภาครับ
เด็กได้อยู่ในบรรยากาศที่มีการใช้ภาษาที่มีความหมาย
เด็กได้รับความพึงพอใจและความสนุกสนานผ่านทางภาษา
เด็กมีโอกาสจำแนกเสียงที่ได้ยิน
เด็กได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่พรั่งพร้อมไปด้วยการใช้คำใหม่ๆ
เด็กมีโอกาสฟังและทำความเข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูด
เด็กมีโอกาสเรียนรู้ที่จะทำตามคำแนะนำ หรือคำสั่ง
ประสบการณ์ทางภาษาภาคส่ง
เด็กมีโอกาสใช้ภาษาอย่างอิสระ
เด็กได้รับกำลังใจและการยอมรับนับถือต่อความต้องการ ในการสื่อสารของเด็กเอง
เด็กได้รับการสนับสนุนให้ออกเสียงอย่างถูกต้อง
เด็กมีโอกาสเรียนรู้คำศัพท์ที่ใช้เพิ่มเติม
เด็กได้รับการสนับสนุนให้พูดประโยคที่สมบูรณ์ตาม ระดับพัฒนาการ
เด็กได้รับการส่งเสริมให้พูดโดยใช้คำหลายๆ ประเภท ทั้งคำนาม คำกริยา คำคุณศัพท์ ใช้วลี หรือใช้ประโยค เด็กมีโอกาสพูดเพื่อสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ
เด็กมีโอกาสใช้ภาษาทั้งในการแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น
เด็กใช้ภาษาเพื่อการแก้ปัญหา ตั้งสมมุติฐาน สรุป หรือ ทำนายเหตุการณ์
เด็กมีโอกาสใช้ภาษาที่สัมพันธ์กับคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์
ผลลัพธ์สำคัญจากการจัดประสบการณ์
  images/stories/sub01.png เด็กมีนิสัยรักการอ่าน
  images/stories/sub01.png เด็กมีพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาเหมาะสมกับวัย
images/stories/v12.gifimages/stories/v13.gif
images/stories/v14.gifimages/stories/v19.gif
images/stories/v15.gifimages/stories/v16.gif
images/stories/v17.gifimages/stories/v18.gif
เขียนโดย นฤมล เนียมหอม   
แนวคิดพื้นฐาน
        "นิทาน" เป็นสิ่งที่เด็กเข้าถึงได้ง่าย เรื่องราวในนิทานมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างเสริมจินตนาการให้แก่เด็กการนำนิทานมาเป็นสื่อหลักในการจัดประสบการณ์ ช่วยให้เด็กประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ได้ง่ายยิ่งขึ้น
ความหมาย
        การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมสำหรับเด็กเป็นหลักในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับหลักสูตรเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างเป็นองค์รวม
หลักการ
1. การจัดการเรียนรู้ควรตอบสนองต่อความต้องการพื้นฐานตามธรรมชาติของเด็กในการค้นหาความหมาย
2. การเรียนรู้ต้องเปิดโอกาสให้เด็กกำหนดรูปแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตน
3. การจัดการเรียนรู้ต้องให้ความสำคัญต่อบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
4. การฟังคือที่มาสำคัญของการพัฒนาภาษาคำ ความหมาย และภาษาที่งดงามสร้างขึ้นได้จากนิทาน
5. เด็กเรียนรู้ผ่านกิจกรรมและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่หรือเด็กที่โตกว่า
วิธีการ
1. เลือกวรรณกรรมที่ดีมาอ่านให้เด็กฟังไม่ต้องกังวลที่จะให้เด็กอ่านตามไม่ต้องให้เด็กคอยตอบคำถามไม่ต้องจำเรื่องให้ได้ทำให้เด็กรู้สึกสนุกที่จะฟังเรียกร้องครั้งแล้วครั้งเล่าให้ผู้ใหญ่อ่านให้ฟัง
*** ภาพประกอบในหนังสือจะสื่อความหมายให้สมองรับรู้เรื่องราวที่ได้ฟังและแม้มีคำยากปนอยู่บ้างสมองก็จะพยายามเชื่อมโยงความหมายของคำนั้นกับเรื่องราววิธีเรียนรู้แบบนี้เป็นวิธีเรียนภาษาที่ได้ผลสัมฤทธิ์สูง ***
** เมื่ออ่านให้เด็กฟังติดต่อกันยาวนานพอเด็กจะเริ่มจดจำเรื่องได้ในที่สุดเด็กจะหยิบหนังสือมาเปิดอ่านการสะกดได้จะตามมาภายหลังการสอนอ่านและสอนสะกดทำได้ง่ายมากเมื่อเด็กรักที่จะอ่านแล้ว ***
2. กระตุ้นให้เด็กสนทนาเกี่ยวกับตัวละครวัตถุสิ่งของ ฉาก หรือสถานการณ์ที่สัมพันธ์กับวรรณกรรม โดยใช้คำถามหลายๆ ระดับ
** ลักษณะของคำถาม : ความจำ, ความเข้าใจ, การวิเคราะห์, การนำไปใช้, การประเมินค่า, การสร้างสรรค์ **
3. วางแผนและออกแบบกิจกรรมที่สัมพันธ์กับวรรณกรรม และสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านของเด็ก และเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับกิจกรรมประจำวัน โดยมีศิลปะและละครเป็น องค์ประกอบสำคัญ
 
images/stories/v1.gifimages/stories/v2.gif
        เด็กๆ ถ่ายทอดความรู้สึกและลำดับเรื่องราวผ่านละครสร้างสรรค์ หลังจาก ได้ฟังนิทานเรื่องปลาสายรุ้ง เป็นการเรียนรู้ที่จะเลือกสัญลักษณ์ที่เหมาะสมใน การนำเสนอความคิดด้วยสีหน้า ท่าทาง และคำพูดให้เหมาะสมกับสิ่งที่เด็กๆ ต้องการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ        เด็กสนใจที่จะวาดภาพปลาที่เลี้ยงไว้ ทำให้มีโอกาสสังเกตปลาจากมุมมอง ที่ต่างๆ กัน ได้อธิบายในเรื่องตำแหน่งและทิศทางการเคลื่อนที่ของปลา และได้ สื่อความหมายของมิติสัมพันธ์ด้วยภาพวาด

 images/stories/v3.gifimages/stories/v4.gif 
        เด็กๆ ช่วยกันตัดกระดาษเป็นเกล็ดปลาสายรุ้งแล้วนำสร้างสรรค์งานร่วมกับเพื่อน เด็กได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ทำให้เกิดความพอใจ และสนุกสนาน เมื่อ ครูนำงานที่เด็กทำมาจัดแสดงไว้ในห้องเรียนทำให้เด็กได้ชื่นชมและมีความรู้สึกที่ดี ต่อตนเองและผู้อื่น รวมทั้งมีสุนทรียภาพต่อสิ่งแวดล้อมด้วย        เด็กๆ ประดิษฐ์ปลาหมึกจากกรวยกระดาษและกระดาษย่น หลังจากนั้นครูจึง นำผลงานของเด็กมาจัดแสดงไว้เป็นโมบายที่ใช้ตกแต่งห้องเรียน เด็กๆ ได้ฝึกการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อเล็ก ด้วยการประดิษฐ์ รวมทั้งได้แสดงความ คิดสร้างสรรค์ผ่านสื่อและวัสดุต่างๆ


images/stories/v5.gifimages/stories/v6.gif
        เด็กๆ สนใจเล่นเกมการศึกษาจากวรรณกรรมเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เด็ก มีประสบการณ์ทางภาษาผ่านกิจกรรมที่สนุกสนาน และสื่อความหมายกับเด็ก
       การให้เด็กเล่นเกมการศึกษาซึ่งเป็นเกมภาษา จากวรรณกรรม ทำให้เด็กได้รับความพึงพอใจ และ ความสนุกสนานผ่านทางภาษาที่มีความหมายต่อเด็ก เกมภาษาที่ครูควรจัดทำ เช่น เกมเรียงลำดับ-เหตุการณ์เกมภาพตัดต่อ เกมสังเกตรายละเอียดของ ภาพ และเกมจับคู่ภาพกับคำ เป็นต้น


images/stories/v7.gif       เด็กสร้างสรรค์ปลาสายรุ้งด้วยขนมปังและแยมสีต่างๆ เด็กรู้จักรูปทรงเรขาคณิต ของขนมปังทั้งที่เป็นแผ่นสี่เหลี่ยม และถูกตัดเป็นสามเหลี่ยมเพื่อเป็นหางปลา เรียนรู้ ที่จะอดทนรอคอยให้งานสำเร็จก่อนที่จะรับประทานอย่างมีความสุข

images/stories/v8.gif  images/stories/v9.gif
        เด็กๆ ช่วยกันผสมแป้งแพนเค้ก ไข่ นม และน้ำ แล้วจึงนำไปทอด ทำให้ได้ สังเกตความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ทั้งจากการสัมผัส ดู ได้ยินเสียง ได้กลิ่น และชิม เด็กๆ เรียนรู้ที่จะทำงานตามลำดับขั้นตอนเพื่อให้ ได้แพนเค้กรูปปลาสายรุ้ง ปลาสีฟ้า ปลาหมึก ปลาดาวตามที่ตั้งใจไว้

 images/stories/v10.gif images/stories/v11.gif
        หนังสือเล่มใหญ่ที่เกิดจากการทำงานร่วมกันของเด็ก เป็นสื่อที่เด็กให้ความสนใจมาก เด็กๆ มี โอกาสได้รับรู้ความรู้สึก ความสนใจ และความ ต้องการของเพื่อน เมื่อครูนำผลงานของเด็กมา จัดแสดงไว้ในลักษณะต่างๆ ทำให้เด็กได้ทบทวน เรื่องราว และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตน


กิจกรรมเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับวรรณกรรม
*** การวิเคราะห์ตัวละคร
*** การวิเคราะห์สถานการณ์
*** การจัดทำวัตถุสิ่งของ
*** การเล่นละครสร้างสรรค์
*** อุปกรณ์ประกอบฉากหรือเครื่องแต่งกายที่สัมพันธ์กับเรื่อง
*** การจัดโต๊ะนิทาน
*** การทำหนังสือนิทาน
*** การทำศิลปะแบบร่วมมือ
*** การประกอบอาหาร
*** การประดิษฐ์และการสร้าง
*** เพลง และคำคล้องจอง
*** การเคลื่อนไหวและจังหวะ
*** การเพาะปลูก
*** การเลี้ยงสัตว์
*** เกมการศึกษา
*** ฯลฯ
4. จัดนิทรรศการแสดงสิ่งที่เด็กๆ เรียนรู้โดยทบทวนกิจกรรมที่จัดแล้วร่วมกับเด็กให้เด็กช่วยกันเลือก สิ่งที่ต้องการนำเสนอให้ผู้อื่นรับรู้เกี่ยวกับวิธีการที่เด็กเรียนรู้และสิ่งที่เด็กเรียนรู้ และร่วมกันจัดนิทรรศการ

การเรียนรู้ประกอบด้วยจุดสนใจหลักและรับรู้สิ่งรอบตัวไปพร้อมๆ กัน
        ครูควรใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ในทุกแง่มุมจัดสิ่งแวดล้อมในห้องเรียนให้สัมพันธ์กับวรรณกรรมโดยให้เด็กมีส่วนร่วม เพื่อให้สมองเรียนรู้จากจุดสนใจหลักและรับรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวไปพร้อมๆ กัน

ประสบการณ์ทางภาษาภาครับ
เด็กได้อยู่ในบรรยากาศที่มีการใช้ภาษาที่มีความหมาย
เด็กได้รับความพึงพอใจและความสนุกสนานผ่านทางภาษา
เด็กมีโอกาสจำแนกเสียงที่ได้ยิน
เด็กได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่พรั่งพร้อมไปด้วยการใช้คำใหม่ๆ
เด็กมีโอกาสฟังและทำความเข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูด
เด็กมีโอกาสเรียนรู้ที่จะทำตามคำแนะนำ หรือคำสั่ง
ประสบการณ์ทางภาษาภาคส่ง
เด็กมีโอกาสใช้ภาษาอย่างอิสระ
เด็กได้รับกำลังใจและการยอมรับนับถือต่อความต้องการ ในการสื่อสารของเด็กเอง
เด็กได้รับการสนับสนุนให้ออกเสียงอย่างถูกต้อง
เด็กมีโอกาสเรียนรู้คำศัพท์ที่ใช้เพิ่มเติม
เด็กได้รับการสนับสนุนให้พูดประโยคที่สมบูรณ์ตาม ระดับพัฒนาการ
เด็กได้รับการส่งเสริมให้พูดโดยใช้คำหลายๆ ประเภท ทั้งคำนาม คำกริยา คำคุณศัพท์ ใช้วลี หรือใช้ประโยค เด็กมีโอกาสพูดเพื่อสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ
เด็กมีโอกาสใช้ภาษาทั้งในการแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น
เด็กใช้ภาษาเพื่อการแก้ปัญหา ตั้งสมมุติฐาน สรุป หรือ ทำนายเหตุการณ์
เด็กมีโอกาสใช้ภาษาที่สัมพันธ์กับคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์
ผลลัพธ์สำคัญจากการจัดประสบการณ์
  images/stories/sub01.png เด็กมีนิสัยรักการอ่าน
  images/stories/sub01.png เด็กมีพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาเหมาะสมกับวัย
images/stories/v12.gifimages/stories/v13.gif
images/stories/v14.gifimages/stories/v19.gif
images/stories/v15.gifimages/stories/v16.gif
images/stories/v17.gifimages/stories/v18.gif




เขียนโดย นฤมล เนียมหอม   
แนวคิดพื้นฐาน
        "นิทาน" เป็นสิ่งที่เด็กเข้าถึงได้ง่าย เรื่องราวในนิทานมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการสร้างเสริมจินตนาการให้แก่เด็กการนำนิทานมาเป็นสื่อหลักในการจัดประสบการณ์ ช่วยให้เด็กประสบความสำเร็จในการเรียนรู้ได้ง่ายยิ่งขึ้น
ความหมาย
        การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัยโดยใช้วรรณกรรมสำหรับเด็กเป็นหลักในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับหลักสูตรเพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ สังคมและสติปัญญาอย่างเป็นองค์รวม
หลักการ
1. การจัดการเรียนรู้ควรตอบสนองต่อความต้องการพื้นฐานตามธรรมชาติของเด็กในการค้นหาความหมาย
2. การเรียนรู้ต้องเปิดโอกาสให้เด็กกำหนดรูปแบบการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับตน
3. การจัดการเรียนรู้ต้องให้ความสำคัญต่อบรรยากาศที่เอื้อต่อการเรียนรู้ของเด็ก
4. การฟังคือที่มาสำคัญของการพัฒนาภาษาคำ ความหมาย และภาษาที่งดงามสร้างขึ้นได้จากนิทาน
5. เด็กเรียนรู้ผ่านกิจกรรมและการมีปฏิสัมพันธ์กับผู้ใหญ่หรือเด็กที่โตกว่า
วิธีการ
1. เลือกวรรณกรรมที่ดีมาอ่านให้เด็กฟังไม่ต้องกังวลที่จะให้เด็กอ่านตามไม่ต้องให้เด็กคอยตอบคำถามไม่ต้องจำเรื่องให้ได้ทำให้เด็กรู้สึกสนุกที่จะฟังเรียกร้องครั้งแล้วครั้งเล่าให้ผู้ใหญ่อ่านให้ฟัง
*** ภาพประกอบในหนังสือจะสื่อความหมายให้สมองรับรู้เรื่องราวที่ได้ฟังและแม้มีคำยากปนอยู่บ้างสมองก็จะพยายามเชื่อมโยงความหมายของคำนั้นกับเรื่องราววิธีเรียนรู้แบบนี้เป็นวิธีเรียนภาษาที่ได้ผลสัมฤทธิ์สูง ***
** เมื่ออ่านให้เด็กฟังติดต่อกันยาวนานพอเด็กจะเริ่มจดจำเรื่องได้ในที่สุดเด็กจะหยิบหนังสือมาเปิดอ่านการสะกดได้จะตามมาภายหลังการสอนอ่านและสอนสะกดทำได้ง่ายมากเมื่อเด็กรักที่จะอ่านแล้ว ***
2. กระตุ้นให้เด็กสนทนาเกี่ยวกับตัวละครวัตถุสิ่งของ ฉาก หรือสถานการณ์ที่สัมพันธ์กับวรรณกรรม โดยใช้คำถามหลายๆ ระดับ
** ลักษณะของคำถาม : ความจำ, ความเข้าใจ, การวิเคราะห์, การนำไปใช้, การประเมินค่า, การสร้างสรรค์ **
3. วางแผนและออกแบบกิจกรรมที่สัมพันธ์กับวรรณกรรม และสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย ครอบคลุมพัฒนาการทุกด้านของเด็ก และเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับกิจกรรมประจำวัน โดยมีศิลปะและละครเป็น องค์ประกอบสำคัญ
 
images/stories/v1.gifimages/stories/v2.gif
        เด็กๆ ถ่ายทอดความรู้สึกและลำดับเรื่องราวผ่านละครสร้างสรรค์ หลังจาก ได้ฟังนิทานเรื่องปลาสายรุ้ง เป็นการเรียนรู้ที่จะเลือกสัญลักษณ์ที่เหมาะสมใน การนำเสนอความคิดด้วยสีหน้า ท่าทาง และคำพูดให้เหมาะสมกับสิ่งที่เด็กๆ ต้องการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ        เด็กสนใจที่จะวาดภาพปลาที่เลี้ยงไว้ ทำให้มีโอกาสสังเกตปลาจากมุมมอง ที่ต่างๆ กัน ได้อธิบายในเรื่องตำแหน่งและทิศทางการเคลื่อนที่ของปลา และได้ สื่อความหมายของมิติสัมพันธ์ด้วยภาพวาด

 images/stories/v3.gifimages/stories/v4.gif 
        เด็กๆ ช่วยกันตัดกระดาษเป็นเกล็ดปลาสายรุ้งแล้วนำสร้างสรรค์งานร่วมกับเพื่อน เด็กได้พูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ทำให้เกิดความพอใจ และสนุกสนาน เมื่อ ครูนำงานที่เด็กทำมาจัดแสดงไว้ในห้องเรียนทำให้เด็กได้ชื่นชมและมีความรู้สึกที่ดี ต่อตนเองและผู้อื่น รวมทั้งมีสุนทรียภาพต่อสิ่งแวดล้อมด้วย        เด็กๆ ประดิษฐ์ปลาหมึกจากกรวยกระดาษและกระดาษย่น หลังจากนั้นครูจึง นำผลงานของเด็กมาจัดแสดงไว้เป็นโมบายที่ใช้ตกแต่งห้องเรียน เด็กๆ ได้ฝึกการประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อเล็ก ด้วยการประดิษฐ์ รวมทั้งได้แสดงความ คิดสร้างสรรค์ผ่านสื่อและวัสดุต่างๆ


images/stories/v5.gifimages/stories/v6.gif
        เด็กๆ สนใจเล่นเกมการศึกษาจากวรรณกรรมเป็นส่วนสำคัญที่ทำให้เด็ก มีประสบการณ์ทางภาษาผ่านกิจกรรมที่สนุกสนาน และสื่อความหมายกับเด็ก
       การให้เด็กเล่นเกมการศึกษาซึ่งเป็นเกมภาษา จากวรรณกรรม ทำให้เด็กได้รับความพึงพอใจ และ ความสนุกสนานผ่านทางภาษาที่มีความหมายต่อเด็ก เกมภาษาที่ครูควรจัดทำ เช่น เกมเรียงลำดับ-เหตุการณ์เกมภาพตัดต่อ เกมสังเกตรายละเอียดของ ภาพ และเกมจับคู่ภาพกับคำ เป็นต้น


images/stories/v7.gif       เด็กสร้างสรรค์ปลาสายรุ้งด้วยขนมปังและแยมสีต่างๆ เด็กรู้จักรูปทรงเรขาคณิต ของขนมปังทั้งที่เป็นแผ่นสี่เหลี่ยม และถูกตัดเป็นสามเหลี่ยมเพื่อเป็นหางปลา เรียนรู้ ที่จะอดทนรอคอยให้งานสำเร็จก่อนที่จะรับประทานอย่างมีความสุข

images/stories/v8.gif  images/stories/v9.gif
        เด็กๆ ช่วยกันผสมแป้งแพนเค้ก ไข่ นม และน้ำ แล้วจึงนำไปทอด ทำให้ได้ สังเกตความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ได้ใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้า ทั้งจากการสัมผัส ดู ได้ยินเสียง ได้กลิ่น และชิม เด็กๆ เรียนรู้ที่จะทำงานตามลำดับขั้นตอนเพื่อให้ ได้แพนเค้กรูปปลาสายรุ้ง ปลาสีฟ้า ปลาหมึก ปลาดาวตามที่ตั้งใจไว้

 images/stories/v10.gif images/stories/v11.gif
        หนังสือเล่มใหญ่ที่เกิดจากการทำงานร่วมกันของเด็ก เป็นสื่อที่เด็กให้ความสนใจมาก เด็กๆ มี โอกาสได้รับรู้ความรู้สึก ความสนใจ และความ ต้องการของเพื่อน เมื่อครูนำผลงานของเด็กมา จัดแสดงไว้ในลักษณะต่างๆ ทำให้เด็กได้ทบทวน เรื่องราว และเกิดความภาคภูมิใจในผลงานของตน


กิจกรรมเรียนรู้ที่สัมพันธ์กับวรรณกรรม
*** การวิเคราะห์ตัวละคร
*** การวิเคราะห์สถานการณ์
*** การจัดทำวัตถุสิ่งของ
*** การเล่นละครสร้างสรรค์
*** อุปกรณ์ประกอบฉากหรือเครื่องแต่งกายที่สัมพันธ์กับเรื่อง
*** การจัดโต๊ะนิทาน
*** การทำหนังสือนิทาน
*** การทำศิลปะแบบร่วมมือ
*** การประกอบอาหาร
*** การประดิษฐ์และการสร้าง
*** เพลง และคำคล้องจอง
*** การเคลื่อนไหวและจังหวะ
*** การเพาะปลูก
*** การเลี้ยงสัตว์
*** เกมการศึกษา
*** ฯลฯ
4. จัดนิทรรศการแสดงสิ่งที่เด็กๆ เรียนรู้โดยทบทวนกิจกรรมที่จัดแล้วร่วมกับเด็กให้เด็กช่วยกันเลือก สิ่งที่ต้องการนำเสนอให้ผู้อื่นรับรู้เกี่ยวกับวิธีการที่เด็กเรียนรู้และสิ่งที่เด็กเรียนรู้ และร่วมกันจัดนิทรรศการ

การเรียนรู้ประกอบด้วยจุดสนใจหลักและรับรู้สิ่งรอบตัวไปพร้อมๆ กัน
        ครูควรใส่ใจต่อสิ่งแวดล้อมในการเรียนรู้ในทุกแง่มุมจัดสิ่งแวดล้อมในห้องเรียนให้สัมพันธ์กับวรรณกรรมโดยให้เด็กมีส่วนร่วม เพื่อให้สมองเรียนรู้จากจุดสนใจหลักและรับรู้สิ่งต่างๆ รอบตัวไปพร้อมๆ กัน

ประสบการณ์ทางภาษาภาครับ
เด็กได้อยู่ในบรรยากาศที่มีการใช้ภาษาที่มีความหมาย
เด็กได้รับความพึงพอใจและความสนุกสนานผ่านทางภาษา
เด็กมีโอกาสจำแนกเสียงที่ได้ยิน
เด็กได้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่พรั่งพร้อมไปด้วยการใช้คำใหม่ๆ
เด็กมีโอกาสฟังและทำความเข้าใจสิ่งที่ผู้อื่นพูด
เด็กมีโอกาสเรียนรู้ที่จะทำตามคำแนะนำ หรือคำสั่ง
ประสบการณ์ทางภาษาภาคส่ง
เด็กมีโอกาสใช้ภาษาอย่างอิสระ
เด็กได้รับกำลังใจและการยอมรับนับถือต่อความต้องการ ในการสื่อสารของเด็กเอง
เด็กได้รับการสนับสนุนให้ออกเสียงอย่างถูกต้อง
เด็กมีโอกาสเรียนรู้คำศัพท์ที่ใช้เพิ่มเติม
เด็กได้รับการสนับสนุนให้พูดประโยคที่สมบูรณ์ตาม ระดับพัฒนาการ
เด็กได้รับการส่งเสริมให้พูดโดยใช้คำหลายๆ ประเภท ทั้งคำนาม คำกริยา คำคุณศัพท์ ใช้วลี หรือใช้ประโยค เด็กมีโอกาสพูดเพื่อสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ
เด็กมีโอกาสใช้ภาษาทั้งในการแสดงความรู้สึกและความคิดเห็น
เด็กใช้ภาษาเพื่อการแก้ปัญหา ตั้งสมมุติฐาน สรุป หรือ ทำนายเหตุการณ์
เด็กมีโอกาสใช้ภาษาที่สัมพันธ์กับคณิตศาสตร์และตรรกศาสตร์
ผลลัพธ์สำคัญจากการจัดประสบการณ์
  images/stories/sub01.png เด็กมีนิสัยรักการอ่าน
  images/stories/sub01.png เด็กมีพัฒนาด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญาเหมาะสมกับวัย
images/stories/v12.gifimages/stories/v13.gif
images/stories/v14.gifimages/stories/v19.gif
images/stories/v15.gifimages/stories/v16.gif
images/stories/v17.gifimages/stories/v18.gif
ข้อควรระวังในการจัดประสบการณ์ศิลปะ
            1.ให้คะแนน หรือรางวัล เช่น ดาว สติกเกอร์ เป็นต้น  การให้คะแนนหรือรางวัลนั้น  คุณครูบางท่านอาจจะมองว่า  เป็นการสร้างแรงเสริมให้กับเด็ก  แต่ในทางกลับกัน สิ่งที่เด็กจะได้ก็คือ  ความไม่กล้าที่จะลองเพราะกลัวว่าออกมาไม่สวย  ได้คะแนนไม่ดี  ความกลัวว่าผลงานของตนจะไม่ดีพอไม่สวยพอ  เปรียบเทียบและแข่งขันกับเพื่อน  นอกจากนี้ยังทำให้เด็กคิดว่าการทำงานต้องมีผลทางวัตถุตอบแทน  จึงให้ความสนใจที่ผลตอบแทนมากกว่ากระบวนการเรียนรู้   และยังจำกัดความคิดและสร้างสรรค์อย่างอิสระ 
            เนื่องจากนักเรียนมุ่งหวังที่จะสร้างผลงานให้ถูกใจครู  เพื่อที่จะได้รับคะแนนดีหรือรางวัล  ซึ่งจริง ๆ แล้วศิลปะนั้นถือว่าเป็นการสื่อสารความรู้สึกนึกคิดอย่างหนึ่งของแต่ละบุคคล  ดังนั้นศิลปะไม่ควรถูกมองว่ามีถูกหรือผิด  มีสวยมากหรือสวยน้อย  มีดีมากหรือดีน้อย  การที่เราให้คะแนน หรือรางวัล  ถือว่าเป็นการตั้งกฎเกณฑ์เพื่อตัดสินความคิด ซึ่งเกณฑ์ดังกล่าวนั้น  ไม่มีมาตรฐานเพราะขึ้นอยู่กับความคิดและความพอใจของผู้สอนแต่ละบุคคล  จึงไม่ควรอย่างยิ่งที่ครูจะตัดสินผลงานของเด็กด้วยการให้คะแนน หรือรางวัล 
            2.ให้นักเรียนระบายสี และตัดแปะกระดาษในกรอบ  ศิลปะเป็นการสื่อความคิด ความรู้สึก ความเข้าใจ  โดยใช้อุปกรณ์ต่าง ๆ สื่อสิ่งเหล่านั้นออกมาเป็นรูปธรรม    การให้นักเรียนทำงานศิลปะที่มีกรอบกำหนดนั้น (pre-draw)  เป็นการจำกัดความคิดสร้างสรรค์อย่างมาก  เนื่องจากรูปถูกกำหนดตายตัวไว้แล้ว  นักเรียนไม่สามารถจะปรับเปลี่ยนตามจินตนาการของตนได้   และต้องทำตามแบบฉบับที่ถูกกำหนดไว้  
            ครูควรคำนึงว่า  งานศิลปะนั้นเป็นงานที่ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์  ไม่ใช่ กิจกรรมที่เน้นความสวยงามในแบบที่ผู้ใหญ่คาดหวังไว้  กิจกรรมศิลปะควรเป็นกิจกรรมปลายเปิดที่ให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ  และสร้างสรรค์ผลงานตามความรู้สึกของตน
            3.ใช้กระดาษที่ตัดเป็นรูปร่างสำเร็จแล้ว  การใช้กระดาษที่ตัดเป็นรูปร่างสำเร็จ (pre-cut shapes) ในการตัดแปะนั้น  สิ่งที่เด็กจะได้รับก็คือ การรู้จักแปะรูปด้วยกาว และการจัดวางเพื่อให้เกิดความเหมือน  กิจกรรมในลักษณะนี้เป็นงานที่จำกัดความคิดสร้างสรรค์  และเน้นเพียงความสวยงามและความเหมือนซึ่งขึ้นอยู่กับความพอใจและความคิดของผู้สอน  กิจกรรมไม่ได้สนับสนุนการเรียนรู้ของเด็ก   ดังนั้นคุณครูควรหลีกเหลี่ยงการตัดกระดาษสำเร็จรูปให้นักเรียน  ควรให้นักเรียนฉีก ตัด กระดาษเป็นรูปร่าง  ต่าง ๆ ตามความคิดส่วนตัว 

            4.วาดรูปเป็นตัวอย่างให้เด็กดูเป็นตัวอย่าง  การที่คุณครูวาดภาพให้เด็กดูเป็นตัวอย่างนั้น  ส่งถึงผลเสียมากกว่าผลดี  เพราะเป็นธรรมดาที่เด็กนั้นจะชื่นชมผลงานของครู  และต้องการที่จะสร้างสรรค์ผลงานให้ได้เหมือนกับของผู้ใหญ่ และเมื่อเขาไม่สามารถทำให้เหมือนได้  เขาก็จะรู้สึกท้อแท้ ผิดหวังในตนเอง และจะทำให้เขารู้สึกไม่ดีต่อกิจกรรมนั้น ๆ และต่อตนเอง    
            5.ช่วยแก้ปัญหา  โดยการทำให้  เวลาที่นักเรียนวาดอะไรไม่ได้  บางทีคุณครูก็จะช่วยด้วยการทำให้   ซึ่งวิธีนั้นทำให้นักเรียนไม่รู้จักอดทนต่อการแก้ปัญหา และไม่พยายามเรียนรู้ที่จะแก้ปัญหาด้วยตนเอง  ถ้านักเรียนวาดรูปไม่ได้  ครูควรพูดแนะนำเพื่อทำให้ขั้นตอนการวาดง่ายขึ้น  และใช้คำถามกระตุ้นเพื่อเด็กคิด  เช่น “หน้าของหมามีรูปทรงอย่างไง เป็นสี่เหลี่ยม หรือวงกลม และตัวหมาเป็นรูปทรงอะไร  ” หรือ ให้แนะนำให้เด็กรู้จักการค้นคว้าและหาข้อมูลรอบตัวในการแก้ปัญหา เช่น  “เราลองไปหารูปหมาในหนังสือเป็นตัวอย่างดีไหม  บางทีการที่เราได้เห็นรูป ” 

อ้างอิง “Talking With Young Children About Their Art” by Schirrmacher, Robert, Young Chidren Magazine, July 1986, p. 3-7.